หลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมือนคล้ายจนอาจทำให้สาธารณชนสับสนหรือหลงผิดในความเป็นเจ้าของของสินค้าหรือแหล่งกำเนิดของสินค้า
หลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมือนคล้ายจนอาจทำให้สาธารณชนสับสนหรือหลงผิดในความเป็นเจ้าของของสินค้าหรือแหล่งกำเนิดของสินค้า
386 Views
เครื่องหมายการค้า หมายถึง เครื่องหมาย หรือสัญลักษณ์ หรือตราที่ใช้กับสินค้าหรือบริการ ภายใต้ความคุ้มครองตาม พ.ร.บ.เครื่องหมายการค้า พ.ศ.2534 (และที่แก้ไขเพิ่มเติม) เครื่องหมายอาจจำแนกได้ 4 ประเภท คือ
1. เครื่องหมายการค้า (Trade Mark) เช่น สบู่ แชมพู หรือผงซักฟอก
2. เครื่องหมายบริการ (Service Mark) เช่น ภัตตาคาร ธนาคาร หรือโรงแรม
3. เครื่องหมายรับรอง (Certification Mark) เช่น มิชลิน ฮาลาล หรือเชลล์ชวนชิม
4. เครื่องหมายร่วม (Collective Mark) เช่น เครือซีเมนต์ไทย
# สำหรับหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมือนคล้ายจนอาจทำให้สาธารณชนสับสนหรือหลงผิดในความเป็นเจ้าของของสินค้าหรือแหล่งกำเนิดของสินค้านั้น แอดมินมีตัวอย่างคำพิพากษาศาลฎีกาที่น่าสนใจคือ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7202/2554 นำมาให้พวกเราพิจารณากัน มาดูกันเลยครับ
# บทความย้อนหลังอ่านได้ที่ https://lombonlawoffice.com/ หรือ “เพจทนายคู่คิด-ปรึกษาปัญหากฎหมาย” ครับ
1. เครื่องหมายการค้า (Trade Mark) เช่น สบู่ แชมพู หรือผงซักฟอก
2. เครื่องหมายบริการ (Service Mark) เช่น ภัตตาคาร ธนาคาร หรือโรงแรม
3. เครื่องหมายรับรอง (Certification Mark) เช่น มิชลิน ฮาลาล หรือเชลล์ชวนชิม
4. เครื่องหมายร่วม (Collective Mark) เช่น เครือซีเมนต์ไทย
# สำหรับหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมือนคล้ายจนอาจทำให้สาธารณชนสับสนหรือหลงผิดในความเป็นเจ้าของของสินค้าหรือแหล่งกำเนิดของสินค้านั้น แอดมินมีตัวอย่างคำพิพากษาศาลฎีกาที่น่าสนใจคือ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 7202/2554 นำมาให้พวกเราพิจารณากัน มาดูกันเลยครับ
# บทความย้อนหลังอ่านได้ที่ https://lombonlawoffice.com/ หรือ “เพจทนายคู่คิด-ปรึกษาปัญหากฎหมาย” ครับ